วันเสาร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2558

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สัปดาห์ที่ 12

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

โดย : นายราชกัลป์  พรหมอาจ รหัสนักศึกษา      58723713202    เลขที่  2  หมู่ที่  2
ผู้สอน : อาจารย์ภัทรดร  จั้นวันดี


สัปดาห์ที่ 12  วันเสาร์ที่  24  ตุลาคม  พ.ศ. 2558

อ.ภัทรดร ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนองานชิ้นที่ 2 หน้าชั้นเรียนเกี่ยวกับการศึกษาสภาพปัญหาการเรียนการสอนในสถานศึกษาโดยให้นักเรียนลงพื้นที่เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการเรียนการสอนในสถานศึกษาดังนี้
1.  แบ่งกลุ่มๆละ 6 คน
2.  ให้ศึกษา/สัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร  รองผู้บริหาร  ครูประจำชั้น  หัวหน้าวิชาการ เป็นต้น




กลุ่มของกระผม ตกลงกันแล้วเลือกโรงเรียนชุมชนเทศบาล ๓ ( พินิจพิทยานุสรณ์ ) อ.เมือง จ. นครพนม  สังกัด อปท.  เป็นโรงเรียนที่เลือกศึกษาถึงปัญหาการเรียนการสอนเนื่องจากเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่  ทั้งระดับ อนุบาล  ประถม  และมัธยม อีกทั้ง อยู่ในอำเภอเมือง การติดต่อและเดินทางของสมาชิกส่วนใหญ่ในกลุ่ม สะดวก  ง่ายต่อการพบปะ พูดคุยกัน



มีการระดมสมอง รว่มกันคิด วางแผนการทำงาน เพื่อให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากที่สุด


•สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่เดียวกับสถานศึกษามีแผนการทำงานตามแบบ PDCA  - Plan  Do Check Action เพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน






สรุปปัญหาที่ได้จากการสัมภาษณ์ท่านผู้อำนวยการ ระพีพรรณ  พรหมอาจ ผู้อำนวยการ โรงเรียนชุมชนเทศบาล ๓ ( พินิจพิทยานุสรณ์ ) มีดังนี้
1.  บุคลากรจบไม่ตรงกับวิชาเอกที่สอน
2.  ขาดแคลนบุคลากรในการสอน
3.  สื่อและนวัตกรรมยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน
4.  จัดการศึกษาหลายระดับทำให้การบริหารจัดการ และปัญหามีมากขึ้น

แนวทางในการแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนการสอนสถานศึกษา คือ
1.  จัดส่งครูไปฝึกอบรใ ในหลักสูตรที่ตรงสาย
2.  เปิดรับบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ เชี่ยวชาญในเอกที่จบมา มาสอน
3.  จัดสรรงบประมาณในการเบิกซื้อสื่อที่ทันสมัยที่จำเป็นต่อการเรียนรู้

สุดท้ายนี้กลุ่มของกระผมต้องขอกราบขอบพระคุณท่านผู้อำนวยการ ระพีพรรณ  พรหมอาจ ที่ใจดี มีเมตตา สละเวลาอันมีค่ามาให้คำตอบในการสัมภาษณ์แก่ผมในครั้งนี้ครับ


วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2558

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สัปดาห์ที่ 11

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

โดย : นายราชกัลป์  พรหมอาจ รหัสนักศึกษา      58723713202    เลขที่  2  หมู่ที่  2
ผู้สอน : อาจารย์ภัทรดร  จั้นวันดี


สัปดาห์ที่ 11  วันเสาร์ที่  17  ตุลาคม  พ.ศ. 2558

อ.ภัทรดร  ภาพ และ บรรยากาศการเรียนในห้องเรียน







อ.ภัทรดร  ได้พูดถึงบันได  5  ขั้น



   การเรียนรู้แบบ  IS นั้น  ครูเป็นได้แต่เพียงผู้ชี้แนวทางเท่านั้น


อ.ภัทรดร  ได้พูดถึงการเขียนแผนแบบ 5 E 




อ.ภัทรดร  ได้พูดถึงหลักสูตร มีด้วยกันทั้งหมด 4 หลักสูตร
1. หลักสูตรแกนกลาง  พ.ศ.  2551
2. หลักสูตรสถานศึกษา
3. หลักสูตรท้องถิ่น  
4. หลักสูตรรายบุคคล


อ.ภัทรดร  ได้พูดถึงตัวแปรทางการวิจัยว่ามีอยู่ 4 ตัว คือ



1.  ตัวแปรต้น
2.  ตัวแปรตาม
3.  ตวแปรสอดแทรก  เป็นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้
4.  ตัวแปนแทรกซ้อน 


อ.ภัทรดร  ได้พูดถึงทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่  21




การจัดการศึกษาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่  21 ต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด (Child Center) กระบวนการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ (Integration) ให้เด็กเชื่อมโยงองค์ความรู้ต่างๆเข้าด้วยกันได้ และต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ครู “Teach Less” และ“Learn More” ครูต้องไม่สอนมาก แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้และอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้ศิษย์ได้เกิดทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) จากการเรียนแบบลงมือทำเช่นโครงงาน แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง(Thinking Skills)  การเรียนรู้แบบนี้ เรียกว่า PBL (Project-Based Learning) หรือ ให้เรียนรู้จากปัญหา PBL (Problem-Based Learning) ทั้งยังมีการฝึกการใช้ภาษาสื่อสารและเทคโนโลยีด้วย (Communication and Technology Skills)  ครูต้องเปลี่ยนจาก “Teacher” มาเป็น “Facilitator”  และควรจะผันตัวเองมาเป็น (Coach) หรือ ผู้ชี้แนะ” เพื่อเปลี่ยนวิธีการศึกษา ด้วยการเปลี่ยนแปลงเป้าหมายจาก “ความรู้ (knowledge) ไปสู่ ทักษะ (skill or practices)”จะทำให้เด็กมีทักษะการใช้ชีวิตและเอาตัวรอดได้ (Life Skills)





อ.ภัทรดร  ได้พูดถึง Coaching and mentoring 



ครูต้องผันตัวเองมาเป็น (Coach) หรือ ผู้ชี้แนะ และเปิดโอกาสให้เด็กถามเมื่อเกิดข้อสงสัย ไม่ใช่สอนอย่างเดียว ให้เด็กมีทักษะการเรียนรู้ที่เกิดจากการทำโครงงาน PBL = Project Base Learning และทักษะการเรียนรู้ที่เกิดจากปัญหา PBL = Problem  Base  Learning  คือ ศึกษาวิธีการแก้ปัญหา และ เรียนรู้จากปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ




วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2558

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สัปดาห์ที่ 10

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

โดย : นายราชกัลป์  พรหมอาจ รหัสนักศึกษา      58723713202    เลขที่  2  หมู่ที่  2
ผู้สอน : อาจารย์ภัทรดร  จั้นวันดี


สัปดาห์ที่ 10  วันเสาร์ที่  10  ตุลาคม  พ.ศ. 2558

อ. ภัทรดร ให้แต่ละกลุ่ม  กลุ่มละ 6 คน  จำนวน 5 กลุ่ม  เอางานของกลุ่มตนออกมาติดไว้หน้าชั้นเรียนเพื่อให้สมาชิกทุกคนเห็น แล้วให้แต่ละกลุ่มออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียนในหัวข้อของตน  ดังต่อไปนี้



1. สื่อ (Media)
2. แหล่งเรียนรู้ หรือ ทรัพยากรการเรียนรู้  (Wisdom or Learning resources)
3.การวัดและประเมินผล  (Measurement and Evaluation)
4.ระบบ  (System)
5. การบูรณาการ (Integration)
กลุ่มของกระผมได้หัวข้อสุดท้าย เรื่อง การบูรณาการ (Integration)

โดยแต่ละกลุ่มได้เขียนสรุปออกมาเป็นดังนี้
1. สื่อ (Media)




2. แหล่งเรียนรู้ หรือ ทรัพยากรการเรียนรู้  (Wisdom or Learning resources)




3.การวัดและประเมินผล  (Measurement and Evaluation)




4.ระบบ  (System)





5. การบูรณาการ (Integration





อ.ภัทรดร  พูดถึง แผนการสอนเป็นนวัตกรรม
1  คู่มือการใช้งานครูผู้สอน ซึ่งต้องมีความแตกต่างกัน
2  คู่มือของผู้เรียน
3 คู่มือของสื่อเอง

แหล่งเรียนรู้ มี หลักๆ 2 แบบ คือ
1.  แหล่งเรียนรู้ภายใน 
2.  แหล่งเรียนรู้ภายนอก

ท้ายชั่วโมง อ.ภัทรดร ได้สั่งงานชิ้นที่ 2 กลุ่มละ 6 คน มีทั้งหมด 5 กลุ่ม 

ให้ไปศึกษาสภาพปัญหาการเรียนการสอนในสถานศึกษาของตน ไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นปัญหาในปัจจุบัน  อาจจะเป็นปัญหาที่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้านี้ก็ได้ ลองมองดูจากภายนอกว่าเห็นปัญหาอะไรบ้างในโรงเรียนที่ตัวเองอยู่  ให้ discuss ในกลุ่ม  แล้วหยิบมาเป็น case study  มีการสอบถาม พูดคุยกับฝ่ายบริหารหรือครูในโรงเรียนด้วย

วันเสาร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2558

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สัปดาห์ที่ 9

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

โดย : นายราชกัลป์  พรหมอาจ รหัสนักศึกษา      58723713202    เลขที่  2  หมู่ที่  2
ผู้สอน : อาจารย์ภัทรดร  จั้นวันดี


สัปดาห์ที่ 9  วันเสาร์ที่  3  ตุลาคม  พ.ศ. 2558

อ. ภัทรดร ให้แบ่งกลุ่ม  กลุ่มละ 6 คน  ได้จำนวน 5 กลุ่ม  แล้วแจกกระดาษให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิด เขียนลงไปในกระดาษตามหัวข้อที่ตนได้ ดังต่อไปนี้

1. สื่อ (Media)
2. แหล่งเรียนรู้ หรือ ทรัพยากรการเรียนรู้  (Wisdom or Learning resources)
3.การวัดและประเมินผล  (Measurement and Evaluation)
4.ระบบ  (System)
5. การบูรณาการ (Integration)

กลุ่มของกระผมได้หัวข้อสุดท้าย เรื่อง การบูรณาการ (Integration) เมื่อเขียนเสร็จแล้วเตรียมนำเสนอหน้าชั้นเรียนในวันเสาร์ ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2558  (สัปดาห์ที่ 10)






วันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สัปดาห์ที่ 8

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

โดย : นายราชกัลป์  พรหมอาจ รหัสนักศึกษา      58723713202    เลขที่  2  หมู่ที่  2
ผู้สอน : อาจารย์ภัทรดร  จั้นวันดี


สัปดาห์ที่  8 วันเสาร์ที่  26  กันยายน  พ.ศ. 2558

อ.ภัทรดร พูดถึง 
1. คูปองครู     ว่าดีมีประโยชน์อย่างไร ควร หรือ ไม่ควร เห็นด้วย   หรือไม่อย่างไร

2. Stem



เป็นการบูรณาการข้ามกลุ่มสาระวิชา (Interdisciplinary Integration) นั่นคือเป็นการบูรณาการ ระหว่างศาสตร์สาขาต่างๆได้แก่ 
(S) วิทยาศาสตร์ 
(T) เทคโนโลยี 
(E) วิศวกรรมศาสตร์  และ
(M) คณิตศาสตร์ 
โดยได้นำจุดเด่นของธรรมชาติตลอดจนวิธีการสอนของแต่ละสาขาวิชามาผสมผสานกันอย่างลงตัว

3. การออกแบบการสอน
- กระบวนการที่เราหยิบมาใช้
- หลักเกณฑ์และแนวทางในการออกแบบการจัดการเรียนรู้




4. Single Gateway การเปิด-ปิดช่องทางการสื่อสารรวบให้เหลือช่องทางเดียวจะดีหรือไม่ อย่างไร





5. ความแตกต่างระหว่าง  สื่อ/อุปกรณ์/เครื่องมือ/แหล่งเรียนรู้  อ.อธิบายให้เข้าใจว่าแต่ละคำนั้นแตกต่างกันอย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่างให้เข้าใจ ชัดเจน




อ.ภัทรดร  ให้นักศึกษา  2 กลุ่มสุดท้าย  ออกมานำเสนอแผนการจัดการเรียนรู้หน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่กลุ่มตนได้รับ   ดังต่อไปนี้

1. UNESCO Model  (Macro/Micro Level)






2. Hannafin and Peck








ที่มา : รูปแบบและกระบวนการพัฒนาหลักสูตร  http://pongsuwansaimai.org/download/d1/d9.pdf

วันเสาร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2558

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สัปดาห์ที่ 7

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

โดย : นายราชกัลป์  พรหมอาจ รหัสนักศึกษา      58723713202    เลขที่  2  หมู่ที่  2
ผู้สอน : อาจารย์ภัทรดร  จั้นวันดี


สัปดาห์ที่  7 วันเสาร์ที่  19  กันยายน  พ.ศ. 2558

อ.ภัทรดร พูดถึง 
1)   บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction :  CAI) 



เป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ในการนำเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้   มี 9 รูปแบบ  ดังนี้ 

1. คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 
2. คอมพิวเตอร์เพื่อการบริหาร CMI 
3. คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน 
4. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร 
5. องค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 
6. รูปแบบต่างๆของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 
7. คุณค่าของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
8. ข้อเสียของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
9. ลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

อ.ภัทรดร พูดถึง 
2)   กระบวนการเรียนรู้แบบ LT (Learning Together)  



มีอะไรบ้าง ครูจะต้องมีเครื่องมือไว้รองรับ  พร้อมให้เด็กใช้เสมอ เช่น ถ้าเด็กอยากดู VDO ครูต้องมี  VDO เตรียมพร้อมให้เด็กดุได้ทันที
ถ้าเด็กอยากใช้  Computer  ครูต้องมี  Computer  เตรียมพร้อมให้เด็กใช้ได้ทันที สรุป คือผู้สอนต้องมีความพร้อมทางด้านสื่อ เครื่องมือในการสอน

แผนก็มีอยู่  3 ขั้น
1.  ขั้นนำ
2.  ขั้นสอน
3.  ขั้นสรุป

หลักสูตรอาชีวศึกษา มีอยู่ 2 หลักสูตร คือ
1.  หลักสูตรสำหรับ ปวช.
2.  หลักสูตรสำหรับ ปวส.

ส่วนหลักสูตรทั่วไป เราใช้หลักสูตรแกรนกลาง 2551 (ม.1 - ม.6)


อ.ภัทรดร พูดถึง   เรื่อง E-book 



และ การตรวจ E-book ว่าจะตรวจยังไง ดูและพิจรณาเรื่องไหนบ้าง เช่น 3D,คุณภาพ, การใช้ Sorfware การลงรายละเอียดเนื้อหา สาระ หรือ Content เป็นต้น


อ.ภัทรดร  ให้นักศึกษาออกมานำเสนอแผนการจัดการเรียนรู้หน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่กลุ่มตนได้รับ  โดยวันนี้ มีการออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนทั้งหมด 4 กลุ่ม ดังต่อไปนี้
  
1.Klausmeier  & Ripple Model

                  





2.Knirk & Gange  Model










3.Seels & Glasgow  Model







4.Robert  Gange  Model








credit : ขอบคุณรูปภาพจาก https://www.google.co.th/search/picture 

วันเสาร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2558

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สัปดาห์ที่ 5

สรุปเนื้อหาวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

โดย : นายราชกัลป์  พรหมอาจ รหัสนักศึกษา      58723713202    เลขที่  2  หมู่ที่  2
ผู้สอน : อาจารย์ภัทรดร  จั้นวันดี


สัปดาห์ที่  5 วันเสาร์ที่  5  กันยายน  พ.ศ. 2558

OBE  (Outcome  Based  Education )
อาศัยองค์ประกอบ เพื่อทำให้การจัดการเรียนการสอนได้สำเร็จ OBE เป็นผลจากการจัดกิจกรรม เป็นผลจากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ฐานจากผลลัพธ์  เอาผลลัพธ์เป็นตัวตั้ง เช่น ต้องการผลลัพธ์ คือให้เด็กอ่านหนังสือออก  เราต้องรู้ว่าเราจะสอนแบบไหน ใช้รูปแบบ ใช้วิธีการ กระบวนการใด ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้เด็กอ่านหนังสือออก
Concept  Idea
ใช้ผลการเรียนรู้เป็นตัวกำหนดกระบวนการที่เหมาะสมในการพัฒนาผู้เรียน
กระบวนการ หรือ Process (How to) ถือเป็นกุญแจแห่งความสำเร็จ
การผลิตนักเรียนที่มีคุณภาพ  ขึ้นอยู่กับการกำหนด LO คือ  Learning Objective หรือ Learning Outcome



นิยามของคำว่าสื่อ (Media)คือสิ่งที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เราต้องทราบ และเข้าใจถึงคำว่า สื่อ/วัสดุ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้/เครื่องมือ/ใบงาน
การกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้คือกำหนด Outcome base
การวัดผลการเรียนของ สพฐ. กำหนดใช้ 3 ด้าน
1.  พุทธิพิสัย  Cognitive Domain
2.  จิตพิสัย  Affective Domain
3.  ทักษะพิสัย  Psychomoto Domain

เกณฑ์การประเมิน  2  อย่าง
1.  เกณฑ์ที่เป็นรูปแบบของคะแนน
2.  เกณฑ์ที่เป็นรูปแบบของระดับคุณภาพ
ทุกโรงเรียนจะต้องมีหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อถ่ายทอดลงสู่  8 กลุ่มสาระ ซึ่งก็จะมีระดับกลุ่มสาระวิชา กลุ่มต่างๆ

สมรรถนะ  5 ด้าน ที่ต้องประเมินมีดังนี้
1.  ความสามารถในการคิด
2.  ความสามารถในการสื่อสาร
3.  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
4.  ความสามารถในการแก้ปัญหา
5.  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ซึ่งผลจากการประเมินผู้เรียนนี้ในแต่ละแผนนี้  อาจจะมีครบหรือไม่ครบทั้ง 5 ข้อก็ได้
การพัฒนาศักยภาพทางความคิดเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนานักเรียนทุกกลุ่มสาระวิชา โดยเฉพาะในยุคของ  Digital Econimy

นอกจากนี้ อาจารย์ภัทรดร  จั้นวันดี  ยังเล่าเรื่องเกี่ยวกับความเป็นครู
เปิดคลิป  VDO ที่โหลดมาจาก Youtube ให้ดูด้วย
1  เรื่องของ เร็วทำงานที่มีประสิทธิภาพ  Fast beat slow คือการเปลี่ยนยางรถยนต์  Ferrari ในการแข่งขันรถสูตรหนึ่ง  (Fomular 1)




2  แรงบันดาลใจ และกำลังใจ จากคนพิการ นิก (Nick Vujicic) แขน ขาด้วน คลิปเรื่องแรงบันดาลใจ



3  เล่าเรื่องของ facebook ของ  Mark Zuckerberg



4  เล่าเรื่องของ วอล์ท ดีสนีย์  Walt Disney



5  การคิดค้นระบบปฏิบัติการของ สตีฟ  จ๊อบส์  (Steve jobs)


6  พูดถึงคนญี่ปุ่นที่คิด  Application  Line

                           


7  สอนได้ ไม่ใช่สอนเป็น เป็นแง่คิดของครู


8  กาลามสูตร 10 หลักความเชื่อ 10  ประการ

                 

9  เกมส์ท้ายชั่วโมง ลากเส้น 4 เส้น ให้ต่อกัน เมื่อมีจุดทั้งหมด 9 จุด เป็นการกระตุ้นสมอง และกระบวนการคิด